หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร : 25511531105788
ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor
of Arts Program in Thai Language
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต
(ภาษาไทย)
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ภาษาไทย)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor
of Arts (Thai Language)
ชื่อย่อ : B.A.
(Thai Language)
3. วิชาเอก ไม่มี
4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า
120 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
เป็นหลักสูตรระดับคุณวุฒิปริญญาตรี
หลักสูตร 4 ปี
5.2 ประเภทหลักสูตร
เป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดปทุมธานี
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6.
สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
þ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566
ปรับปรุงมาจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อนวัตกรรมการสื่อสาร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561
เริ่มใช้หลักสูตรนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่
1 ปีการศึกษา 2566
þ
สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
เห็นชอบในการนำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย
ในการประชุม ครั้งที่ 10/2565
เมื่อวันที่ 20 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565
þ
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่
11/2565 เมื่อวันที่ 3 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2565
7.
ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย พ.ศ. 2554
ในปีการศึกษา 2568
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
8.1 งานพัฒนาบุคลากร งานเอกสาร และงานธุรการ
8.2 งานด้านธุรกิจสื่อดิจิทัล
8.3 งานสื่อสารมวลชน
8.4 นักวิชาการด้านภาษาและวัฒนธรรม
8.5 งานสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ
ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสำคัญ
และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
บัณฑิตภาษาไทยสามารถใช้องค์ความรู้ทางภาษาไทยสร้างสรรค์นวัตกรรมการสื่อสารอย่างเท่าทันสถานการณ์
1.2 ความสำคัญ
ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ
และเป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทยที่สำคัญประการหนึ่ง
การเรียนรู้ภาษาไทยจึงเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ช่วยยกระดับการสื่อสาร
เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพอย่างเท่าทันยุคสมัย
1.3 วัตถุประสงค์
1.3.1
เพื่อผลิตบัณฑิตที่ใช้ภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณ มีจริยธรรมในการสื่อสาร มีภาวะผู้นำ
และสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
1.3.2
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความภาคภูมิใจต่อภาษาไทยในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชาติและมีเจตคติที่ดีต่อภาษา
1.3.3
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถปรับประยุกต์ใช้องค์ความรู้เชิงบูรณาการประกอบอาชีพทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน อาชีพอิสระ และศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
ระบบการจัดการศึกษา
การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ระบบทวิภาค
โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษา
ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
กรณีที่มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับ
อนุปริญญาและปริญญาตรีพ.ศ. 2557
และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2562 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
(ภาคผนวก ก)
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
มีการจัดการภาคฤดูร้อนโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ
ไม่น้อยกว่า 8สัปดาห์
และเป็นไปตามประกาศที่มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ก าหนด
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดำเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการด าเนินการเรียนการสอน
ในเวลาราชการ
เริ่มเปิดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 และ
เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ก าหนด
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
2.2.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกสาขาหรือเทียบเท่า
2.2.2
เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จังหวัดปทุมธานี
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี พ.ศ. 2557 และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 (ภาคผนวก ก)
2.2.3 ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของส
านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2.2.4
ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์การคัดเลือกภายใต้โครงการพิเศษต่าง ๆ
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
นักศึกษายังมีปัญหาความรู้พื้นฐานด้านภาษา
การสื่อสาร วรรณกรรม วรรณคดี และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการจัดการศึกษา
การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ระบบทวิภาค
โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษาไม่น้อยกว่า 15
สัปดาห์ กรณีที่มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีพ.ศ. 2557 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2562 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
(ภาคผนวก ก)
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
มีการจัดการภาคฤดูร้อนโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ
ไม่น้อยกว่า 8สัปดาห์
ทั้งนี้ ไม่เป็นการบังคับ
และเป็นไปตามประกาศที่มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จังหวัดปทุมธานี กำหนด
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดำเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
ในเวลาราชการ
เริ่มเปิดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566
ภาคการศึกษาที่ 1 เดือน มิถุนายน –
ตุลาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือน พฤศจิกายน –
มีนาคม
และเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี กำหนด
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
2.2.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกสาขาหรือเทียบเท่า
2.2.2 เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
จังหวัดปทุมธานี
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี พ.ศ. 2557 และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 (ภาคผนวก ก)
2.2.3 ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของส
านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2.2.4
ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์การคัดเลือกภายใต้โครงการพิเศษต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จังหวัดปทุมธานี
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
นักศึกษายังมีปัญหาความรู้พื้นฐานด้านภาษา
การสื่อสาร วรรณกรรม วรรณคดี และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจ
ากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3
2.4.1
จัดกิจกรรม/โครงการบูรณาการด้านภาษา การสื่อสาร วรรณกรรม วรรณคดี และ
เทคโนโลยีสารสนเทศแก่นักศึกษา เช่น
กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านภาษา การสื่อสาร วรรณกรรม
วรรณคดี และเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านการเขียน และกิจกรรมการเรียนรู้นอก
ห้องเรียน
ซึ่งมีการประเมินผลก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาหมู่เรียนเป็น
ผู้ติดตามพัฒนาการของนักศึกษา
2.4.2 สนับสนุน
ส่งเสริมให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะด้านภาษา การสื่อสาร วรรณกรรม
วรรณคดี และเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
ส่งนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดผลงานการเรียนรู้
เชิงผลิตภาพ และการน าเสนอผลงานทางวิชาการในงานประชุมวิชาการระดับชาติ